ค้นหา
  
Search Engine Optimization Services (SEO)

นินเทนโด 64

นินเท็นโด 64 (อังกฤษ: Nintendo 64 หรือ N64) เป็นเครื่องเล่นเกมคอนโซลรุ่นที่สามของบริษัทนินเท็นโด วางจำหน่ายครั้งแรกที่ญี่ปุ่น วันที่ 23 มิถุนายน ค.ศ. 1996 และที่สหรัฐอเมริกา วันที่ 29 สิงหาคม ค.ศ. 1996

ชื่อที่ใช้ในการพัฒนาคือ Project Reality ในภายหลังได้ใช้ชื่อ Nintendo Ultra 64 จากความสามารถในการประมวลผลแบบ 64 บิต ซึ่งนินเท็นโดได้นำคำว่า Ultra ออกเหลือเพียง Nintendo 64

เริ่มแรกพัฒนาในชื่อโครงการว่า "โปรเจกต์ เรียลลิตี้" บริษัทนินเท็นโดคาดการณ์เอาไว้ว่า เครื่องเกมจากโปรเจกต์นี้จะเป็นเครื่องเกมคอนโซลที่สามารถสร้างภาพคอมพิวเตอร์กราฟิกได้พอๆกับเครื่องซุปเปอร์คอมพิวเตอร์ในยุคนั้นทีเดียว ในฝั่งตะวันตก เครื่องเกมนี้ถูกเรียกกันว่า "อัลตร้า 64" และภาพดีไซน์ของเครื่องถูกนำออกเผยแพร่เป็นครั้งแรกในปี 1994 ซึ่งมีรูปร่างเหมือนกับเครื่องนินเท็นโด 64 ที่เสร็จสมบูรณ์แล้วทุกประการยกเว้นที่โลโก้ของเครื่อง และมีการยืนยันว่าเครื่องเกมนี้จะใช้ตลับ ซึ่งถือว่าแตกต่างจากเครื่องเกมคอนโซลเจ้าอื่นๆในยุคนั้น ที่กำลังนิยมใช้ CD-ROM เป็นสื่อในการบันทึกเกม ส่วนในญี่ปุ่น บรรดาแฟนเกมและผู้สื่อข่าวต่างสันนิษฐานกันว่าเครื่องเกมนี้จะออกมาในชื่อ "อัลตร้าแฟมิคอม" แต่เมื่อเครื่องที่พัฒนาเสร็จสมบูรณ์ออกในปี 1995 ทางนินเท็นโดได้ประกาศให้ชื่อเครื่องเกมนี้ว่า "นินเท็นโด 64" และใช้ชื่อนี้ทั่วโลก เหตุผลที่ทางนินเท็นโดตัดสินใจตัดคำว่า "อัลตร้า" ออกจากชื่อเครื่อง เนื่องจากชื่อ "อัลตร้า" ได้ถูกจดลิขสิทธิ์โดยบริษัทโคนามิอยู่ก่อนแล้ว เครื่องเกมนินเท็นโด 64 ออกวางขายครั้งแรกในปี 1996

ในอเมริกา เครื่องนินเท็นโด 64ขายได้ 500,000 เครื่องในสี่เดือนแรก แต่ยอดขายในญี่ปุ่นไม่ค่อยดีนัก ในวันที่ 31 ปี ค.ศ.2005 เครื่องนินเท็นโด 64 ขายได้ในญี่ปุ่นได้เพียงจำนวน 5.54 ล้านเครื่อง ส่วนในอเมริกาขายได้ถึง 20.63 ล้านเครื่อง และขายได้ในภูมิภาคอื่นๆอีก 6.75 ล้านเครื่อง รวมแล้วเครื่องนินเท็นโด 64 ขายได้ 32.93 ล้านเครื่อง

ในด้านการตลาด ทางนินเท็นโดได้โฆษณาว่าเครื่องนินเท็นโด 64 เป็นเครื่องเกม 64 บิทเครื่องแรกของโลก ซึ่งขัดแย้งกับคำกล่าวอ้างของบริษัทอาตาริ ผู้ที่อ้างว่าเครื่องจากัวร์ของตนเป็นเครื่องเกม 64 บิทเครื่องแรกของโลก แต่อย่างไรก็ดี คอมพิวเตอร์ 64 บิทของจากัวร์ เป็นการนำเอาคอมพิวเตอร์ 32 บิท 2 ตัวมาใช้ร่วมกันเท่านั้น

ทางนินเท็นโดยังคงใช้ตลับเกมเป็นสื่อบันทึกเกมสำหรับนินเท็นโด 64 ตลับเกมนั้นมีความจุตั้งแต่ 4 เมกะไบต์ จนถึง 64 เมกะบิท การเซฟเกมกระทำโดยบันทึกข้อมูลลงบนแบ็ตเตอรี่แบ็คอัพแรมในตลับ แต่บางเกมที่ใช้เมมโมรี่การ์ดแยกต่างหาก

การตัดสินใจใช้ตลับเกมเป็นสื่อบันทึกเกมของนินเท็นโด ถือว่าเป็นการตัดสินใจที่ผิดพลาด และเป็นปัจจัยสำคัญที่ส่งผลให้นินเท็นโดพ่ายแพ้ต่อโซนี่ในวงการอุตสาหกรรมเกมคอนโซลในยุคนั้น หลังจากที่เป็นผู้ครองตลาดมาหลายสิบปี ทางนินเท็นโดได้พยายามโฆษณาถึงข้อดีของตลับเกม และข้อเสียของซีดีรอม นินเท็นโดโจมตีว่า เกมที่ใช้ซีดีรอมนั้นต้องเสียเวลาโหลดนานและโหลดถี่ ต่างกับตลับที่แทบไม่ใช้เวลาในการโหลดเลย เนื่องจากในยุคนั้นเทคโนโลยีหัวอ่านแผ่นซีดียังไม่ก้าวหน้ามากนัก และยังโจมตีว่าเกมจากแผ่นซีดีนั้นสามารถก๊อปปี้ได้ง่าย ต่างจากตลับเกมที่ก๊อปปี้ได้ยากกว่า นอกจากนั้นแผ่นซีดีนั้นยังบอบบางและเสียหายง่าย หากมีรอยขีดข่วนก็อาจจะอ่านข้อมูลจากแผ่นนั้นไม่ได้เลย ต่างจากตลับที่ทนทานกว่า

แต่ตลับเกมก็มีจุดเสียเปรียบที่ทำให้พ่ายแพ้ต่อแผ่นซีดี ข้อเสียเปรียบที่สำคัญข้อแรกคือ ตลับเกมมีความจุน้อยกว่าแผ่นซีดีมาก ในขณะที่ตลับเกมมีความจุสูงสุดที่ 64 เมกะไบต์ แต่ซีดีรอมมีความจุถึง 650 เมกะไบต์ ในขณะที่เกมในยุคนั้นมีการพัฒนาจนซับซ้อนกว่าแต่ก่อน ผู้พัฒนาเกมต้องการพื้นที่ความจุที่มากขึ้นเพื่อจะได้ช่องทางในการสร้างสรรค์มากขึ้น ข้อเสียเปรียบข้อถัดไปก็คือตลับเกมนั้นผลิตได้ยากกว่าและแพงกว่าซีดีรอม ในขณะที่ซีดีรอมนั้นผลิตง่ายและต้นทุนไม่สูงนัก ด้วยเหตุผลที่กล่าวมาข้างต้น ทำให้เหล่าผู้พัฒนาเกมหันไปพัฒนาเกมให้กับเครื่องเกมที่ใช้ซีดีรอมอย่างเพลย์สเตชันหรือเซก้าแซทเทิร์นแทน

บทความวิดีโอเกมหรือเกมคอมพิวเตอร์นี้ยังเป็นโครง คุณสามารถช่วยวิกิพีเดียได้โดยเพิ่มเติมข้อมูล


 

 

รับจำนำรถยนต์ รับจำนำรถจอด

แรง (ฟิสิกส์) ความยาว การเคลื่อนที่ ทฤษฎีเคออส กลศาสตร์แบบลากรางช์ เอนริโก แฟร์มี สมมาตรยิ่งยวด CERN Large Hadron Collider ไอน์สไตน์ ทฤษฎีสัมพัทธภาพทั่วไป กาลิเลโอ ฟิสิกส์อนุภาค วิศวกรรมวัสดุ เซมิคอนดักเตอร์ นาโนเมตร วัสดุนาโน วัสดุฉลาด วัสดุเชิงก้าวหน้า วัสดุชีวภาพ พอลิเมอร์ เซรามิก สเปกโตรสโกปี อุณหเคมี ไฟฟ้าเคมี เคมีเชิงฟิสิกส์ โลหะอินทรีย์เคมี เคมีพอลิเมอร์ เคมีนิวเคลียร์ ชีววิทยาโมเลกุล เคมีเวชภัณฑ์ เคมีดาราศาสตร์ เคมีไคเนติกส์ สารประกอบอนินทรีย์ สารประกอบเคมี สารประกอบ John Dalton ทฤษฎีโฟลจิสตัน อ็องตวน ลาวัวซีเย Robert Boyle ปฏิกิริยาเคมี รายชื่อคณะวิทยาศาสตร์ในประเทศไทย เคมีสิ่งแวดล้อม วิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม Social psychology วิทยาศาสตร์สังคม เทคนิคการแพทย์ เวชศาสตร์ พยาธิวิทยา เนื้องอกวิทยา ทัศนมาตรศาสตร์ Pharmacy บรรณารักษศาสตร์และสารนิเทศศาสตร์ วิทยาศาสตร์พุทธิปัญญา สารสนเทศศาสตร์ วิทยาการสารสนเทศ สัตววิทยา วิทยาไวรัส ประสาทวิทยาศาสตร์ อณูชีววิทยา จุลชีววิทยา วิทยาภูมิคุ้มกัน มีนวิทยา มิญชวิทยา กีฏวิทยา Developmental biology วิทยาเซลล์ ชีววิทยาของเซลล์ วิทยาแผ่นดินไหว ชลธารวิทยา สมุทรศาสตร์ เคมีความร้อน เคมีไฟฟ้า เคมีการคำนวณ เคมีวิเคราะห์ Particle physics พลศาสตร์ของไหล พลศาสตร์ สวนศาสตร์ ฟิสิกส์เชิงทฤษฎี โป๊ป ความเรียง เรอเน เดส์การตส์ การสังเกต การทดลอง ฟรานซิส เบคอน กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ความรู้เชิงประจักษ์ คณิตตรรกศาสตร์ เครือข่ายคอมพิวเตอร์เพื่อโรงเรียนไทย ไม้บรรทัด กระดูกนาเปียร์ ลูกคิด การแข่งขันคณิตศาสตร์ รางวัลอาเบล เหรียญฟิลด์ส ปัญหาของฮิลแบร์ท กลุ่มความซับซ้อน พี และ เอ็นพี ข้อความคาดการณ์ของปวงกาเร สมมติฐานความต่อเนื่อง

 

1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16
17
18
19
20
21
22
23
24
25
26
27
28
29
30
31
32
33
34
35
36
37
38
39
40
41
42
43
44
45
46
47
48
49
50
51
52
53
54
55
56
57
58
59
60
61
62
63
64
65
66
67
68
69
70
71
72
73
74
75
76
77
78
79
80
81
82
83
84
85
86
87
88
89
90
91
92
93
94
95
96
97
98
99
100
101
102
103
104
105
106
107
108
109
110
111
112
113
114
115
116
117
118
119
120
121
122
123
124
125
126
127
128
129
130
131
132
133
134
135
136
137
138
139
140
141
142
143
144
145
146
147
148
149
150
151
152
153
154
155
156
157
158
159
160
161
162
163
164
165
166
167
168
169
170
171
172
173
174
175
176
177
178
179
180
181
182
183
184
185
186
187
188
189
190
191
192
193
194
195
196
197
198
199
200
201
202
203
204
205
206
207
208
209
210
211
212
213
214
215
216
217
218
219
220
221
222
223
224
225
226
227
228
229
230
231
232
233
234
235
236
237
238
239
240
241
242
จำนำรถราชบุรี รถยนต์ เงินด่วน รับจำนำรถยนต์ จำนำรถยนต์ จำนำรถ 24187